summaryrefslogtreecommitdiff
path: root/test/testdata/th/TIS-620/wikitop_th_TIS-620.txt
diff options
context:
space:
mode:
Diffstat (limited to 'test/testdata/th/TIS-620/wikitop_th_TIS-620.txt')
-rw-r--r--test/testdata/th/TIS-620/wikitop_th_TIS-620.txt283
1 files changed, 283 insertions, 0 deletions
diff --git a/test/testdata/th/TIS-620/wikitop_th_TIS-620.txt b/test/testdata/th/TIS-620/wikitop_th_TIS-620.txt
new file mode 100644
index 0000000..52d6ae9
--- /dev/null
+++ b/test/testdata/th/TIS-620/wikitop_th_TIS-620.txt
@@ -0,0 +1,283 @@
+หน้าหลัก
+
+ จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
+ ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
+ 24 ตุลาคม 2554, 16:30 รีเฟรช
+
+ ยินดีต้อนรับสู่วิกิพีเดีย
+ สารานุกรมเสรีที่ทุกคนสามารถแก้ไขได้
+ วิกิพีเดียภาษาไทยมี 69,781 บทความ
+
+ ______________________ เรียกดู ค้นหา
+
+ ค้นหา: เรียงตามตัวอักษร หมวดหมู่ | ดูหน้าทั้งหมด
+
+ บทความคัดสรรเดือนนี้
+ บทความคัดสรรเดือนนี้
+ ภาพแสดงดาวเคราะห์และดาวเคราะห์แคระในระบบสุริยะ
+ โดยย่อขนาดของดาวตามอัตราส่วนจริง
+ แต่ระยะห่างระหว่างดาวไม่ใช่อัตราส่วนจริง
+
+ ระบบสุริยะ ประกอบด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุอื่นๆ
+ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์เนื่องจากแรงโน้มถ่วง ได้แก่ ดาวเคราะห์ 8
+ ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 166 ดวง ดาวเคราะห์แคระ 5
+ ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 4 ดวง กับวัตถุขนาดเล็กอื่นๆ
+ อีกนับล้านชิ้น ซึ่งรวมถึง ดาวเคราะห์น้อย วัตถุในแถบไคเปอร์ ดาวหาง
+ สะเก็ดดาว และฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์
+
+ โดยทั่วไปแล้วจะแบ่งย่านต่างๆ ของระบบสุริยะ
+ นับจากดวงอาทิตย์ออกมาดังนี้คือ ดาวเคราะห์ชั้นในจำนวน 4 ดวง
+ แถบดาวเคราะห์น้อย ดาวเคราะห์ขนาดใหญ่รอบนอกจำนวน 4 ดวง
+ และแถบไคเปอร์ซึ่งประกอบด้วยวัตถุที่เย็นจัดเป็นน้ำแข็ง
+ พ้นจากแถบไคเปอร์ออกไปเป็นเขตแถบจานกระจาย ขอบเขตเฮลิโอพอส
+ (เขตแดนตามทฤษฎีที่ซึ่งลมสุริยะสิ้นกำลังลงเนื่องจากมวลสารระหว่างดวงดาว)
+ และพ้นไปจากนั้นคือย่านของเมฆออร์ต
+
+ กระแสพลาสมาที่ไหลออกจากดวงอาทิตย์ (หรือลมสุริยะ)
+ จะแผ่ตัวไปทั่วระบบสุริยะ
+ สร้างโพรงขนาดใหญ่ขึ้นในสสารระหว่างดาวเรียกกันว่า เฮลิโอสเฟียร์
+ ซึ่งขยายออกไปจากใจกลางของแถบจานกระจาย
+
+ ดาวเคราะห์ชั้นเอกทั้ง 8 ดวงในระบบสุริยะ
+ เรียงลำดับจากใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดออกไป มีดังนี้คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก
+ ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน (อ่านต่อ...)
+
+ บทความคัดสรรก่อนหน้านี้: อสุรกายดงดิบ ภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดิชิ
+ ประเทศเปรู
+ ที่เก็บถาวร บทความคัดสรรอื่น ๆ
+ รู้ไหมว่า
+ รู้ไหมว่า...
+
+ เรื่องน่าสนใจจากบทความล่าสุดของวิกิพีเดีย :
+
+ ดาวบริวารบางดวงของดาวยูเรนัส
+ * ... ดาวบริวารของดาวยูเรนัส ที่รู้จักแล้ว 27 ดวง (บางส่วนในภาพ)
+ ทั้งหมดมีชื่อตามตัวละครในผลงานการประพันธ์ของวิลเลียม เชกสเปียร์
+ และอเล็กซันเดอร์ โปป
+ * ... เมื่อ พ.ศ. 2553 ท่าอากาศยานนานาชาติเจนีวารองรับผู้โดยสาร 11.7
+ ล้านคน และเที่ยวบินกว่า 170,000 เที่ยว
+ * ...
+ มูลนิธิกระจกเงามีโครงการช่วยเป็นสื่อกลางในการยื่นเรื่องขอสัญชาติไทย
+ แก่ชาวเขา และสร้างความตระหนักเรื่องการค้ามนุษย์
+ * ... เมื่อ พ.ศ. 2490 มอริส ฟาร์คดำน้ำลึก 385 เมตร
+ และเสียชีวิตด้วยอาการเมาไนโตรเจน
+ นับเป็นนักดำน้ำคนแรกที่เสียชีวิตขณะใช้ถังออกซิเจน
+ * ...
+ อรรถศาสตร์สาขาหนึ่งศึกษาเกี่ยวกับการแปลความหมายจากป้ายและสัญลักษณ์ท
+ ี่เหล่าองค์กรและชุมชนใช้ในสถานการณ์และบริบทหรือสภาพแวดล้อมเฉพาะ
+
+เรื่องที่ผ่านมา สร้างบทความใหม่ เสนอบทความ
+
+ เรื่องจากข่าว
+ เรื่องจากข่าว
+ มูอัมมาร์ กัดดาฟี
+ * กลุ่มแบ่งแยกดินแดนบาสก์ อีทีเอ ประกาศจะยุติการเคลื่อนไหวด้วยอาวุธ
+ * อดีตผู้นำลิเบีย มูอัมมาร์ กัดดาฟี (ในภาพ) เสียชีวิตแล้ว
+ * เกิดเหตุการณ์อุทกภัยครั้งใหญ่ ก่อให้เกิดความเสียหาย 61
+ จังหวัดทั่วประเทศไทย
+ * พระราชพิธีอภิเษกสมรสระหว่าง สมเด็จพระราชาธิบดี
+ และสมเด็จพระราชินีแห่งภูฏาน จัดขึ้น ณ มณฑลพูนาคา ประเทศภูฏาน
+ * สตีฟ จอบส์ ผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทแอปเปิล
+ เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งตับอ่อน รวมอายุได้ 56 ปี
+ * แดน เชชท์มัน ศาสตราจารย์ชาวอิสราเอลจากมหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต
+ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีประจำปี 2554
+
+ เหตุการณ์ปัจจุบัน
+
+ วันนี้ในอดีต
+ วันนี้ในอดีต
+ 24 ตุลาคม: วันสหประชาชาติ; วันเอกราชในแซมเบีย (พ.ศ. 2507)
+
+ การให้สัตยาบันในสนธิสัญญามึนสเตอร์
+ * พ.ศ. 1803 (ค.ศ. 1260) มหาวิหารชาทร์ ในเมืองชาทร์ ประเทศฝรั่งเศส
+ มีพิธีวางศิลาฤกษ์ โดยพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส
+ * พ.ศ. 2191 (ค.ศ. 1648) สนธิสัญญามึนสเตอร์
+ สนธิสัญญาฉบับที่สองในสนธิสัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลีย ได้รับการลงนาม
+ (ในภาพ) ซึ่งมีผลยุติสงครามสามสิบปีในทวีปยุโรป
+ และการปฏิวัติเนเธอร์แลนด์
+ และมีเนื้อหาให้การรับรองสาธารณรัฐเจ็ดสหเนเธอร์แลนด์และสหพันธรัฐสวิส
+ เป็นรัฐเอกราช
+ * พ.ศ. 2472 (ค.ศ. 1929) สโมสรฟุตบอลเชฟฟิลด์
+ หนึ่งในสโมสรฟุตบอลที่มิใช่สโมสรฟุตบอลในมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดใ
+ นโลกเท่าที่เคยมีการบันทึก ถูกจัดตั้งขึ้น
+ * พ.ศ. 2474 (ค.ศ. 1931) สะพานจอร์จ วอชิงตัน
+ ซึ่งปัจจุบันนับว่าเป็นหนึ่งในสะพานที่มีการจราจรหนาแน่นที่สุดแห่งหนึ
+ ่งของโลก เชื่อมระหว่างนครนิวยอร์กกับฟอร์ตลี รัฐนิวเจอร์ซี
+ ทำพิธีวางศิลาฤกษ์
+ * พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) กฎบัตรสหประชาชาติ
+ ธรรมนูญขององค์การสหประชาชาติ มีผลบังคับใช้
+ ภายหลังจากการให้สัตยาบันของสาธารณรัฐจีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต
+ สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา และชาติที่ร่วมลงนามส่วนใหญ่
+
+ วันก่อนหน้านี้: 23 ตุลาคม 22 ตุลาคม 21 ตุลาคม
+
+ จดหมายเหตุเดือนตุลาคม
+
+
+ สารานุกรม
+ สารานุกรม
+
+ * หมวดหมู่:ธรรมชาติ ธรรมชาติ
+ * หมวดหมู่:ศิลปะ ศิลปะ
+
+ * หมวดหมู่:วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์
+ * หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์
+
+ * หมวดหมู่:เทคโนโลยี เทคโนโลยี
+ * หมวดหมู่:ความเชื่อ ความเชื่อ
+
+ * หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์
+ * หมวดหมู่:สังคม สังคม
+
+ * หมวดหมู่:ประเทศไทย ประเทศไทย
+ * วิกิพีเดีย:สถานีย่อย สถานีย่อย
+
+ป้ายบอกทาง
+
+ * ศาลาประชาคม กระดานข่าว โครงการ
+ ทรัพยากรและกิจกรรมซึ่งครอบคลุมวิกิพีเดียอย่างกว้างขวาง
+ * เลขาชาววิกิพีเดีย ถามข้อสงสัยเกี่ยวกับการใช้งานวิกิพีเดีย
+ * ปุจฉา-วิสัชนา ถามข้อสงสัยทั่วไปที่คุณอยากรู้
+ * ข่าวไซต์ ประกาศ อัพเดต
+ บทความและข้อมูลข่าวเกี่ยวกับวิกิพีเดียและมูลนิธิวิกิมีเดีย
+ * ศาลาชุมชน สำหรับอภิปรายเกี่ยวกับวิกิพีเดีย
+ รวมถึงรายงานปัญหาเทคนิคและเสนอนโยบาย
+ * Local Embassy For Wikipedia-related discussion in languages other
+ than Thai.
+
+โครงการพี่น้อง
+
+ วิกิพีเดียดำเนินการโดยมูลนิธิวิกิมีเดีย องค์กรไม่แสวงหาผลกำไร
+ ซึ่งเป็นผู้ดำเนินการอีกหลายโครงการ ได้แก่
+
+ วิกิซอร์ซ
+
+ วิกิซอร์ซ
+ เอกสารต้นฉบับเสรี
+
+ คอมมอนส์
+
+ คอมมอนส์
+ ศูนย์รวมสื่อเสรี
+
+ วิกิพจนานุกรม
+
+ วิกิพจนานุกรม
+ พจนานุกรมและอรรถาภิธาน
+
+ วิกิตำรา
+
+ วิกิตำรา
+ ตำราและคู่มือเสรี
+
+ วิกิคำคม
+
+ วิกิคำคม
+ แหล่งรวบรวมคำพูด
+
+ เมต้าวิกิ
+
+ เมต้าวิกิ
+ศูนย์ประสานงานโครงการวิกิมีเดีย
+
+ วิกิสปีชีส์
+
+ วิกิสปีชีส์
+ สารบบอนุกรมวิธาน
+
+ภาษาอื่น
+
+ นอกจากภาษาไทยแล้ว วิกิพีเดียยังมีรุ่นภาษาอื่นอีก 269 ภาษาทั่วโลก
+ โดยวิกิพีเดียขนาดใหญ่ปรากฏในรายชื่อด้านล่าง
+ * 500,000 บทความขึ้นไป: Deutsch (เยอรมัน) English (อังกฤษ)
+ Espaol (สเปน) Franais (ฝรั่งเศส) Italiano (อิตาลี)
+ (ญี่ปุ่น) Nederlands (ดัตช์) Polski (โปแลนด์) Portugus
+ (โปรตุเกส) (รัสเซีย)
+
+ * 150,000 บทความขึ้นไป: Catal (คาตาลัน) etina (เช็ก) Suomi
+ (ฟินแลนด์) Magyar (ฮังการี) Norsk (bokml) (นอร์เวย์) Romn
+ (โรมาเนีย) Svenska (สวีเดน) Trke (ตุรกี)
+ (ยูเครน) (จีน)
+
+ * 100,000 บทความขึ้นไป: (อาหรับ) Dansk (เดนมาร์ก)
+ Esperanto (เอสเปรันโต) (ฮีบรู) Bahasa Indonesia
+ (อินโดนีเซีย) (เกาหลี) Lietuvi (ลิทัวเนีย) Bahasa Melayu
+ (มลายู) Slovenina (สโลวัก) Slovenina (สโลวีเนีย) /
+ Srpski (เซอร์เบีย) Ting Vit (เวียดนาม) Volapk (โวลาปุก)
+ Winaray (วาราย-วาราย)
+
+ * 50,000 บทความขึ้นไป: (บัลแกเรีย) (กรีก)
+ Eesti (เอสโตเนีย) Euskara (บาสก์) (เปอร์เซีย) Gallego
+ (กาลิเซีย) (ฮินดี) Hrvatski (โครเอเชีย) Kryol ayisyen
+ (เฮติ) (เนวารี) Norsk (nynorsk) (นีนอสก์)
+ Armneashce (อะโรมาเนียน) Simple English (อังกฤษอย่างง่าย)
+
+ ดึงข้อมูลจาก
+
+เครื่องมือส่วนตัว
+
+ * ล็อกอิน / สร้างบัญชีผู้ใช้
+
+เนมสเปซ
+
+ * บทความ
+ * อภิปราย
+
+สิ่งที่แตกต่าง
+
+ดู
+
+ * เนื้อหา
+ * ดูโค้ด
+ * ประวัติ
+
+การกระทำ
+
+สืบค้น
+
+ ____________________ (Submit) สืบค้น
+
+ป้ายบอกทาง
+
+ * หน้าหลัก
+ * เหตุการณ์ปัจจุบัน
+ * ถามคำถาม
+ * บทความคัดสรร
+ * บทความคุณภาพ
+ * สุ่มบทความ
+
+มีส่วนร่วม
+
+ * ศาลาประชาคม
+ * ปรับปรุงล่าสุด
+ * เรียนรู้การใช้งาน
+ * ติดต่อวิกิพีเดีย
+ * บริจาคให้วิกิพีเดีย
+ * วิธีใช้
+
+พิมพ์/ส่งออก
+
+ * สร้างหนังสือ
+ * ดาวน์โหลดในชื่อ PDF
+ * หน้าสำหรับพิมพ์
+
+เครื่องมือ
+
+ * หน้าที่ลิงก์มา
+ * ปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
+ * อัปโหลด
+ * หน้าพิเศษ
+ * ลิงก์ถาวร
+ * อ้างอิงบทความนี้
+
+ภาษาอื่น
+ * หน้านี้แก้ไขล่าสุดเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2554 เวลา 18:54 น.
+ * อนุญาตให้เผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์
+ แบบแสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน; เงื่อนไขอื่นอาจใช้ประกอบด้วย
+ โปรดศึกษาเงื่อนไขการใช้งาน
+ Wikipedia เป็นเครื่องหมายการค้าจดทะเบียนของมูลนิธิวิกิมีเดีย
+ * ติดต่อเรา
+
+ * นโยบายความเป็นส่วนตัว
+ * เกี่ยวกับวิกิพีเดีย
+ * ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ